การบูลลี่ในสังคมไทย ตัวอย่างการบูลลี่ สาเหตุการบูลลี่ในสังคมไทย การบูลลี่ มีอะไรบ้าง แนวทางการแก้ไขปัญหาการบูลลี่ คิดยังไงกับการบูลลี่ การบูลลี่รูปร่าง การบูลลี่ในโรงเรียน
การถูกบูลลี่ วันที่ 9 มกราคม 2563 ที่เดอะฮอลล์ บางกอกการบูลลี่ในสังคมไทย เครือข่ายปกป้องเด็กและเยาวชนลดปัจจัยเสี่ยงทางสังคม ร่วมกับ ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน (ชาย) บ้านกาญจนาภิเษก มูลนิธิเครือข่ายครอบครัว และเครือข่ายนักกฎหมายเพื่อเด็กและเยาวชน สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพการบูลลี่รูปร่าง(สสส.) จัดเสวนาหัวข้อ “BULLYING” กลั่นแกล้ง ความรุนแรงที่รอวันแระทุ” เพื่อหาทางออกและวิธีแก้ไขปัญหาเด็กโดนกลั่นแกล้ง หรือ บูลลี่
การบูลลี่ในโรงเรียน
นายอธิวัฒน์ เนียมมีศรี เครือข่ายนักกฎหมายเพื่อเด็กและเยาวชน กล่าวว่า เครือข่ายฯ ได้ลงพื้นที่สำรวจความคิดเห็นเรื่องตัวอย่างการบูลลี่ “บลูลี่ กลั่นแกล้ง ความรุนแรง ในสถานศึกษา” ในกลุ่มเด็ก อายุ10-15 ปี จาก 15 โรงเรียน พบว่า ร้อยละ 91.79 เคยถูกบูลลี่ ส่วนวิธีที่ใช้บูลลี่ คือ การตบหัว ร้อยละ 62.07 รองลงมา ล้อบุพการี ร้อยละ43.57
พูดจาเหยียดหยาม ร้อยละ41.78 และอื่นๆ เช่น นินทา ด่าทอ ชกต่อย ล้อปมด้อย พูดเชิงให้ร้าย เสียดสีสาเหตุการบูลลี่ในสังคมไทย กลั่นแกล้งในสื่อออนไลน์ นอกจากนี้ 1 ใน 3 หรือ ร้อยละ 35.33 ระบุว่า เคยถูกกลั่นแกล้งประมาณเทอมละ 2 ครั้ง ที่น่าห่วงคือ 1 ใน 4 หรือ ร้อยละ 24.86 ถูกกลั่นแกล้งมากถึงสัปดาห์ละ3-4ครั้ง ส่วนคนที่แกล้งคือ เพื่อน รุ่นพี่ รุ่นน้อง
การบูลลี่ในสังคมไทย
“เด็กๆ ร้อยละ 68.93 มองว่า การบูลลี่ ถือเป็นความรุนแรงอย่างหนึ่ง และผลกระทบที่เห็นได้ชัด คือ การบูลลี่ มีอะไรบ้าง ร้อยละ 42.86 คิดจะโต้ตอบเอาคืน ร้อยละ 26.33 มีความเครียด ร้อยละ 18.2 ไม่มีสมาธิกับการเรียน ร้อยละ 15.73 ไม่อยากไปโรงเรียน ร้อยละ 15.6 เก็บตัว และร้อยละ 13.4 ซึมเศร้า นอกจากนี้ เด็กๆยังต้องการให้ทางโรงเรียนมีบทลงโทษที่ชัดเจน มีครูให้คำปรึกษา จัดกิจกรรมสร้างความเข้าใจ”นายอธิวัฒน์ กล่าว
แนวทางการแก้ไขปัญหาการบูลลี่
นายอธิวัฒน์ กล่าวต่อว่า สังคมไทยต้องเลิกมองเรื่องบูลลี่ กลั่นแกล้งกัน เป็นเรื่องเด็กๆ ปกติธรรมดาแล้วปล่อยผ่าน แนวทางการแก้ไขปัญหาการบูลลี่ ต้องให้ความสำคัญ และสร้างกระบวนการเรียนรู้ที่ถูกต้อง เร่งปลูกฝังเรื่องการเคารพสิทธิเนื้อตัวร่างกาย การให้เกียรติกัน ทั้งในระดับครอบครัวและในสถานศึกษา
สาเหตุการบูลลี่ในสังคมไทย
กระทรวงศึกษาธิการก็ต้องให้ความสำคัญกับปัญหาบูลลี่ กลั่นแกล้ง ควรกำหนดให้สถานศึกษามีช่องทางให้เด็กๆสามารถบอกเล่าปัญหา เพื่อขอความช่วยเหลืออย่างเป็นมิตร และปิดลับ และหากสถานศึกษาไม่สามารถรับมือกับปัญหาและสุ่มเสี่ยงที่ปัญหาจะใหญ่ขึ้น ต้องใช้กลไกตาม พ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 คิดยังไงกับการบูลลี่ เพื่อเข้าสู่กระบวนการช่วยเหลือแก้ไข ซึ่งตรงนี้กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ที่มีกลไกพนักงานเจ้าหน้าที่อยู่ทั่วประเทศ ต้องเร่งออกแบบกระบวนการช่วยเหลือให้เป็นระบบ การบูลลี่ในโรงเรียนโดยอาจดึงองค์กรพัฒนาเอกชน องค์กรด้านเด็กเข้ามามีส่วนร่วม การถูกบูลลี่
เครดิต komchadluekduang.com
ข่าวแนะนำ
- การถูกบูลลี่วิธีรับมือการถูก…Bully | Chong Charis
- การถูกบูลลี่หยุด “บูลลี่” ด้วยการสร้างเกราะกำบัง ไม่อยากเป็นเหยื่อต้องรู้ทันอารมณ์
- การถูกบูลลี่เปิดใจเหยื่อ “บูลลี่” จุกอกทุกครั้ง ลืมไม่ลง แต่ไม่เอามาทำร้ายชีวิตอีก
- เที่ยวต่างประเทศ10 ขั้นตอนเตรียมตัว เที่ยวต่างประเทศคนเดียว อ่านจบแพลนทริปได้เลย!
- วิธีแก้ง่วงระหว่างขับรถ”ปุ่มหมุนเวียนอากาศ” ช่วยแก้อาการหลับในได้นะรู้ยัง